มหาวิทยาลัยชีวิต เริ่มเปิดเรียนที่ ศูนย์เรียนรู้ภาคฯ โรงเรียนขอนแก่นวิทยายน 2 ต.พระลับ อ.เมือง จ.ขอนแก่น ในวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2554
นักศึกษาทั้งใหม่และเก่า ลงทะเบียนได้ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป ผู้ที่จบ ม.3 สามารถลงทะเบียนในครั้งนี้ได้ ถ้าจะจบ ม.6 ในเดือนพฤษภาคม 2554 นี้ และรับผู้ที่จบ ม.6 อายุ 18 ปี ขึ้นไป
รายวิชาที่จะเริ่มเรียนคือ กระบวนทัศน์พัฒนา และ การวางแผนและเป้าหมายชีวิต
ติดต่อ โทร.083-1446998
--- หอประชุมโรงเรียน ที่จะใช้เรียนรวมในวันเสาร์ สำหรับ คศร.ขอนแก่น มหาสารคาม และร้อยเอ็ด รวม 19 ศูนย์
--- ห้องเรียน
--- ห้องสมุด
--- เครือข่ายศูนย์เรียนรู้นครขอนแก่น สาขาสุขภาพชุมชน ที่ศูนย์แพทย์ชาตะผดุง โรงเรียนเทศบาลโนนทัน อ.เมือง จ.ขอนแก่น
ปฏิทิน ปี 2554 ของสถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชน นอกจากมีรูปภาพสวยๆ และวันที่ให้ดูแล้ว ยังเป็นปฏิทินที่ต้องใช้เวลาดูนานกว่าปฏิทินทั่วไป
มหาวิทยาลัยชีวิต ส่วนกลางต้องมีขนาดเล็ก แล้วไปใช้ทรัพยากรต่างๆ ในท้องถิ่นเป็นที่เรียนรู้ ซึ่งไม่ควรจำกัดอยู่ในอาคารขนาดใหญ่ เพราะแหล่งเรียรรู้มีเต็มไปหมด ครูมีความรู้เยอะไปหมด เพราะการพัฒนาคือการเชื่อมโยงสิ่งต่างๆ เข้าด้วยกัน ถ้าไปชำแหละมันจะขาดออกเป็นส่วนๆ ทำให้หมดชีวิต ทรัพยากรในชุมชนที่มีอยู่เยอะในส่วนต่างๆ ทั้งวัด ราชการ ชาวบ้าน แต่รู้จักเชื่อมโยงเข้าด้วยกัน
บุคคลที่มีศักยภาพในการเชื่อมโยงในประเทศไทยยังมีอยู่ไม่เพียงพอ เป็นสิ่งที่ผู้บริหารมหาวิทยาลัยชีวิตต้องพัฒนาขึ้นมา เพื่อไปสร้างสรรค์วิธีการเรียนรู้ร่วมกันในแต่ละชุมชน
มหาวิทยาลัยชีวิตต้องสนใจชาวบ้านในท้องถิ่นที่ไปตั้ง ต้องรู้ภูมิสังคม ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม การทำมาหากิน ต้องเป็นประโยชน์กับชาวบ้าน ถ้าทำได้ประเทศไทยจะแข็งแรงมาก ถ้ามหาวิทยาลัยทำงานร่วมกับชุมชนท้องถิ่น จะให้ประโยชน์ซึ่งกันอละกัน ต้องเชื่อมโยงกัน แต่ชุมชนท้องถิ่นไม่มีมหาวิทยาลัยก็ไปของเขาได้ เป็นจุดที่มหาวิทยาลัยต้องเปลี่ยนไปสนับสนุนความเข้มแข็งชุมชนท้องถิ่น ชาวบ้านจะรักมหาวิทยาลัย ไปตั้งแล้วต้องทำให้ชุมชนชาวบ้านดีขึ้น
มาถึงขณะนี้ต้องถือว่าคณะกรรมการได้ทำคลอดองค์กรใหม่ การที่จะมีองคืกรดีๆ ออกมาทำงานเป็นเรื่องยากมาก บางทีแท้งตั้งแต่ในครรภ์ บางทีตายแต่กำหนด หรือบางทีตายตั้งแต่ปฐมวัย มีแรงเสียดทางเยอะมาก ต้องอาศัยความฝ่าฟัน ต้องอาศัยทุกฝ่าย ต้องอาศัยธรรมะ เพื่อให้ได้ไปตลอดรอดฝั่ง
--- ศาสตราจารย์นายแพทย์ประเวศ วะสี
มีคำๆ หนึ่งที่เขียนเอาไว้ใน 100 คำที่ควรรู้ คำว่า synergy แปลว่าการผนึกพลัง 1+1 มากกว่า 2, 1+1+1 เป็นอะไรที่มากกว่า 3 มันไม่ใช่พลังบวก แต่มันเป็นพลังคูณ ประเด็นอยู่ที่ว่าเราจะผนึกพลังอะไร อย่างไร จึงจะได้ผลเป็นคูณ อยู่ที่กระบวนการ ตัวเชื่มและอีกหลายอย่าง วันนี้เรามีปัจจัยที่มีความพร้อมมากที่ แม่กรอง เชื่มว่าเราจะผนึกพลังกัน
เราต้องช่วยกันทำสิ่งดีๆ เพื่อให้รู้ทางที่ถูกต้องที่จะทำให้เกิดสิ่งดีๆ ในครอบครัว ชุมชน บ้านเมือง และพัฒนาอย่างยั่งยืนแปลว่าอะไร มาจากการผนึกพลัง ขอให้เราเริ่มต้นทุกอย่างด้วยดีและทำงานด้วยความมุ่งมั่นร่วมกัน เชื่อว่าสิ่งที่เราวาดฝันเอาไว้นี้จะเป็นจริง
ความยิ่งใหญ่ของการปฏิรูป ไม่ได้อยู่ที่กิจกรรมที่ทำ อย่างที่คุณแม่ชีเทเรซาเคยบอกไว้ว่า “เราไม่ได้ทำอะไรที่ยิ่งใหญ่ เราทำสิ่งที่เล็กๆ ด้วยหัวใจที่ยิ่งใหญ่ต่างหาก และเมื่อนั้นก็จะไม่มีอะไรเล็กอีกต่อไป ทุกอย่างจะยิ่งใหญ่เพราะทำด้วยหัวใจ ทำด้วยจิตที่เป็นสาธารณะ ทำเพื่อส่วนรวม”
--- รศ.ดร.เสรี พงศ์พิศ
อธิการบดีสถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชน
ผู้อำนวยการมูลนิธิสถาบันส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
ถ้ามองโลกในแง่ดี ทุกอย่างเป็นโอกาสให้เราเรียนรู้ได้หมด
แต่เรียนรู้แปลว่าต้องคิดให้เป็นด้วย
ไม่ใช่ไปเห็นใครเขาทำอะไรได้ผลก็รีบมาทำด้วย
ประเภทเฮไปก็เฮมา ถึงได้เจ๊งกันไม่รู้จบ
--- มณี ชูตระกูล
นักจัดการน้ำ นาและผลผลิต จ.อุทัยธานี
อยากเห็นคนมีความมั่นใจที่จะพึ่งตัวเองได้ แต่ทำๆ ไปบางครั้งก็ท้อ
ไม่รู้ว่า เราทำไปคนเดียวหรือเปล่า ชักไม่แน่ใจ แต่อย่างน้อยที่สุด
เราก็อยู่ด้วยความรู้สึกว่า มันเป็นเหมือนหน้าที่ ไม่มีใครมอบหมายให้ทำหรอก
เป็นหน้าที่ที่เราอบากทำให้คนอื่นมีความมั่นใจในชีวิต
--- วิบูลย์ เข็มเฉลิม
ผู้นำวิถีชีวิต วนเกษตร
มหาวิทยาลัยชีวิตจะเป็นมหาวิทยาลัยที่ช่วยในการดำเนินชีวิต
ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมและวัฒนธรรมไปในคราวเดียกัน
และเชื่อมั่นเป็นอย่างยิ่งว่าเป็นสถาบันที่เชื่อมโยงไปถึงคนในระดับรากหญ้า
--- เอ็นดู ซื่อสุวรรณ
กรรมการสภาสถาบันผู้ทรงคุณวุฒิ
80% ของที่กินใช้ในหมู่บ้าน ชาวบ้านทำเองได้หมด แต่ไม่ทำ
ตั้งหน้าตั้งตาซื้อลูกเดียว เงินจึงไหลออกนอกชุมชน
--- ประยงค์ รณรงค์
--- เครือข่ายศูนย๋เรียนรู้ เยี่ยม สถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชน มหาวิทยาลัยชีวิต ที่ อ.บางคนที จ.สมุทรสงคราม
.. ..
.. ..
ปฏิทิน ปี 2554 ของสถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชน นอกจากมีรูปภาพสวยๆ และวันที่ให้ดูแล้ว ยังเป็นปฏิทินที่ต้องใช้เวลาดูนานกว่าปฏิทินทั่วไป
ปรัชญา
สถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชน จัดระบบการศึกษาแบบทางเลือกในระดับอุดมศึกษาแนวใหม่ ผู้เรียนสามารถพัฒนาศักยภาพตนเองบนพื้นฐานความเป็นมนุษย์ ที่ดำรงอยู่อย่างมีศักดิ์ศรีและสามารถพึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืน
ปณิธาน
มุ่งมั่นสร้างสังคมเรียนรู้โดยปัญญาชนท้องถิ่นตามหลักการความพอเพียง มุ่งสู่การสร้างชุมชนเรียนรู้ ชุมชนเข้มแข็ง
วิสัยทัศน์
ผลิตภัณฑ์ที่มีความรู้ และนำความรู้มาพัฒนาศักยภาพของตนเองบนพื้นฐานความเป็นมนุษย์ ที่ดำรงอยู่อย่างมีศัดกดิ์ศรีและให้สามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน
พันธกิจ
-จัดตั้งสถาบันอุดมศึกษาที่เป็นองค์กรสาธาณประโยชน์ เพื่อจัดการการศึกษาที่เป็นทางเลือกให้ปวงชน เพื่อท้องถิ่น เพื่อชุมชนเป็นสำคัญ เป็นการมุ่งสร้างผู้นำท้องถิ่นที่เป็นตัวแทนของผู้นำการพัฒนาตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงและยั่งยืน
-พัฒนาการอุดมศึกษาที่เน้นการศึกษาเพื่อผู้ใหญ่วัยทำงาน เพื่อให้จัดการความรู้ จัดการชีวิต จัดการชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดการพัฒนายั่งยืน
-พัฒนาการอุดมศึกษาที่ต้องการสร้างคนรุ่นใหม่ “พันธุ์ใหม่” ให้มีทางเลือกเพื่อเรียนแล้วให้อยู่อย่างมีศักดิ์ศรีและมีกินในท้องถิ่นของตนเองได้ พร้อมทั้งมีทักษะในการสร้างงานใหม่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชน จัดระบบการศึกษาแบบทางเลือกในระดับอุดมศึกษาแนวใหม่ ผู้เรียนสามารถพัฒนาศักยภาพตนเองบนพื้นฐานความเป็นมนุษย์ ที่ดำรงอยู่อย่างมีศักดิ์ศรีและสามารถพึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืน
ปณิธาน
มุ่งมั่นสร้างสังคมเรียนรู้โดยปัญญาชนท้องถิ่นตามหลักการความพอเพียง มุ่งสู่การสร้างชุมชนเรียนรู้ ชุมชนเข้มแข็ง
วิสัยทัศน์
ผลิตภัณฑ์ที่มีความรู้ และนำความรู้มาพัฒนาศักยภาพของตนเองบนพื้นฐานความเป็นมนุษย์ ที่ดำรงอยู่อย่างมีศัดกดิ์ศรีและให้สามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน
พันธกิจ
-จัดตั้งสถาบันอุดมศึกษาที่เป็นองค์กรสาธาณประโยชน์ เพื่อจัดการการศึกษาที่เป็นทางเลือกให้ปวงชน เพื่อท้องถิ่น เพื่อชุมชนเป็นสำคัญ เป็นการมุ่งสร้างผู้นำท้องถิ่นที่เป็นตัวแทนของผู้นำการพัฒนาตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงและยั่งยืน
-พัฒนาการอุดมศึกษาที่เน้นการศึกษาเพื่อผู้ใหญ่วัยทำงาน เพื่อให้จัดการความรู้ จัดการชีวิต จัดการชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดการพัฒนายั่งยืน
-พัฒนาการอุดมศึกษาที่ต้องการสร้างคนรุ่นใหม่ “พันธุ์ใหม่” ให้มีทางเลือกเพื่อเรียนแล้วให้อยู่อย่างมีศักดิ์ศรีและมีกินในท้องถิ่นของตนเองได้ พร้อมทั้งมีทักษะในการสร้างงานใหม่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มหาวิทยาลัยชีวิต ส่วนกลางต้องมีขนาดเล็ก แล้วไปใช้ทรัพยากรต่างๆ ในท้องถิ่นเป็นที่เรียนรู้ ซึ่งไม่ควรจำกัดอยู่ในอาคารขนาดใหญ่ เพราะแหล่งเรียรรู้มีเต็มไปหมด ครูมีความรู้เยอะไปหมด เพราะการพัฒนาคือการเชื่อมโยงสิ่งต่างๆ เข้าด้วยกัน ถ้าไปชำแหละมันจะขาดออกเป็นส่วนๆ ทำให้หมดชีวิต ทรัพยากรในชุมชนที่มีอยู่เยอะในส่วนต่างๆ ทั้งวัด ราชการ ชาวบ้าน แต่รู้จักเชื่อมโยงเข้าด้วยกัน
บุคคลที่มีศักยภาพในการเชื่อมโยงในประเทศไทยยังมีอยู่ไม่เพียงพอ เป็นสิ่งที่ผู้บริหารมหาวิทยาลัยชีวิตต้องพัฒนาขึ้นมา เพื่อไปสร้างสรรค์วิธีการเรียนรู้ร่วมกันในแต่ละชุมชน
มหาวิทยาลัยชีวิตต้องสนใจชาวบ้านในท้องถิ่นที่ไปตั้ง ต้องรู้ภูมิสังคม ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม การทำมาหากิน ต้องเป็นประโยชน์กับชาวบ้าน ถ้าทำได้ประเทศไทยจะแข็งแรงมาก ถ้ามหาวิทยาลัยทำงานร่วมกับชุมชนท้องถิ่น จะให้ประโยชน์ซึ่งกันอละกัน ต้องเชื่อมโยงกัน แต่ชุมชนท้องถิ่นไม่มีมหาวิทยาลัยก็ไปของเขาได้ เป็นจุดที่มหาวิทยาลัยต้องเปลี่ยนไปสนับสนุนความเข้มแข็งชุมชนท้องถิ่น ชาวบ้านจะรักมหาวิทยาลัย ไปตั้งแล้วต้องทำให้ชุมชนชาวบ้านดีขึ้น
มาถึงขณะนี้ต้องถือว่าคณะกรรมการได้ทำคลอดองค์กรใหม่ การที่จะมีองคืกรดีๆ ออกมาทำงานเป็นเรื่องยากมาก บางทีแท้งตั้งแต่ในครรภ์ บางทีตายแต่กำหนด หรือบางทีตายตั้งแต่ปฐมวัย มีแรงเสียดทางเยอะมาก ต้องอาศัยความฝ่าฟัน ต้องอาศัยทุกฝ่าย ต้องอาศัยธรรมะ เพื่อให้ได้ไปตลอดรอดฝั่ง
--- ศาสตราจารย์นายแพทย์ประเวศ วะสี
มีคำๆ หนึ่งที่เขียนเอาไว้ใน 100 คำที่ควรรู้ คำว่า synergy แปลว่าการผนึกพลัง 1+1 มากกว่า 2, 1+1+1 เป็นอะไรที่มากกว่า 3 มันไม่ใช่พลังบวก แต่มันเป็นพลังคูณ ประเด็นอยู่ที่ว่าเราจะผนึกพลังอะไร อย่างไร จึงจะได้ผลเป็นคูณ อยู่ที่กระบวนการ ตัวเชื่มและอีกหลายอย่าง วันนี้เรามีปัจจัยที่มีความพร้อมมากที่ แม่กรอง เชื่มว่าเราจะผนึกพลังกัน
เราต้องช่วยกันทำสิ่งดีๆ เพื่อให้รู้ทางที่ถูกต้องที่จะทำให้เกิดสิ่งดีๆ ในครอบครัว ชุมชน บ้านเมือง และพัฒนาอย่างยั่งยืนแปลว่าอะไร มาจากการผนึกพลัง ขอให้เราเริ่มต้นทุกอย่างด้วยดีและทำงานด้วยความมุ่งมั่นร่วมกัน เชื่อว่าสิ่งที่เราวาดฝันเอาไว้นี้จะเป็นจริง
ความยิ่งใหญ่ของการปฏิรูป ไม่ได้อยู่ที่กิจกรรมที่ทำ อย่างที่คุณแม่ชีเทเรซาเคยบอกไว้ว่า “เราไม่ได้ทำอะไรที่ยิ่งใหญ่ เราทำสิ่งที่เล็กๆ ด้วยหัวใจที่ยิ่งใหญ่ต่างหาก และเมื่อนั้นก็จะไม่มีอะไรเล็กอีกต่อไป ทุกอย่างจะยิ่งใหญ่เพราะทำด้วยหัวใจ ทำด้วยจิตที่เป็นสาธารณะ ทำเพื่อส่วนรวม”
--- รศ.ดร.เสรี พงศ์พิศ
อธิการบดีสถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชน
ผู้อำนวยการมูลนิธิสถาบันส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
ถ้ามองโลกในแง่ดี ทุกอย่างเป็นโอกาสให้เราเรียนรู้ได้หมด
แต่เรียนรู้แปลว่าต้องคิดให้เป็นด้วย
ไม่ใช่ไปเห็นใครเขาทำอะไรได้ผลก็รีบมาทำด้วย
ประเภทเฮไปก็เฮมา ถึงได้เจ๊งกันไม่รู้จบ
--- มณี ชูตระกูล
นักจัดการน้ำ นาและผลผลิต จ.อุทัยธานี
อยากเห็นคนมีความมั่นใจที่จะพึ่งตัวเองได้ แต่ทำๆ ไปบางครั้งก็ท้อ
ไม่รู้ว่า เราทำไปคนเดียวหรือเปล่า ชักไม่แน่ใจ แต่อย่างน้อยที่สุด
เราก็อยู่ด้วยความรู้สึกว่า มันเป็นเหมือนหน้าที่ ไม่มีใครมอบหมายให้ทำหรอก
เป็นหน้าที่ที่เราอบากทำให้คนอื่นมีความมั่นใจในชีวิต
--- วิบูลย์ เข็มเฉลิม
ผู้นำวิถีชีวิต วนเกษตร
มหาวิทยาลัยชีวิตจะเป็นมหาวิทยาลัยที่ช่วยในการดำเนินชีวิต
ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมและวัฒนธรรมไปในคราวเดียกัน
และเชื่อมั่นเป็นอย่างยิ่งว่าเป็นสถาบันที่เชื่อมโยงไปถึงคนในระดับรากหญ้า
--- เอ็นดู ซื่อสุวรรณ
กรรมการสภาสถาบันผู้ทรงคุณวุฒิ
80% ของที่กินใช้ในหมู่บ้าน ชาวบ้านทำเองได้หมด แต่ไม่ทำ
ตั้งหน้าตั้งตาซื้อลูกเดียว เงินจึงไหลออกนอกชุมชน
--- ประยงค์ รณรงค์
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น