อปท. พอเพียง
รอด พอเพียง ยั่งยืน
เป็นสโลแกน เป็นทั้ง พันธกิจ และ ยุทธศาสร์ ในคำสามคำนี้ ของโครงการ องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นพอเพียง ซึ่งเป็น Jigsaw อันใหญ่ อันหนึ่งของ สสวช.
โดยมีตัวอย่างเครื่องมือในการประเมิน อบต. และ เทศบาล ว่าเป็น อปท. ในระดับใด
รอด คือ ระดับการประเมิน ที่ต่ำที่สุด สำหรับ อปท. ที่บริหารจัดการตัวเองได้ ในระดับ พอใช้
-ความยากจน – ตัวชี้วัด – มีอาหารกิน ไม่เป็นโรคขาดสารอาหาร, ไม่มีคนเร่รอน, มีเครื่องนุ่งหุ่มในหน้าหนาว, มียารักษาโรค มีโรงพยาบาล
-หนี้สิ้น – ทั้งในและนอกระบบ ที่ยังไม่สามารถปลดหนี้ได้
-อาชีพรายได้ – มีอาชีพแน่นอน, รายได้มากกว่า 40 บาทต่อวัน
-สวัสดิการ ความมั่นคง – ผุ้สูงอายุ และ เด็ก ได้รับการดูแล
-ทรัพยากร – ขาดที่ดินทำกิน
-ครอบครัว ชุมชน – ครอบครัวอบอุ่น อยู่ร่วมกัน
พอเพียง – ระดับดี
-เศรษฐกิจ
-การเรียนรู้
-การจัดการ
-สวัสดิการ ความมั่นคง
-ชุมชนเข้มแข็ง – ชุมชนพึ่งพากัน สามัคคีกัน
ยั่งยืน – ระดับดีมาก
-การเรียนรู้ – มีแผนแม่บทชุมชน โดยชุมชน
-การจัดการเพื่อการพึ่งตนเอง – ผลิตอาหารเพียงกับชุมชน ผลิตพลังงานทางเลือกได้
-ระบบเกษตร - มีการพัฒนากิจกรรมเกษตรแบบเกื้อกูลกัน
-ระบบพลังงานและสิ่งแวดล้อม – มีข้อมมูลการใช้พลังงานของชุมชน
-ระบบวิสาหกิจชุมชน
-ระบบทุน – มีกลุ่มอมทรัพย์
-ระบบสุขภาพ – มีข้อมูลจำนวนผู้เจ็บป่าย
-ระบบสวัสดิการ – มีกองทุน การศึกษา เจ็บป่วย เสียชีวิต
นี่เป็นเพียงตัวอย่างแบบประเมิน อปท. ซึ่งแต่ละ อปท. ต้องจัดทำขึ้นมาเอง เพื่อให้สามารถแก้ปัญหาของตนเองได้ ตามสภาพของแต่ละท้องถิ่น
แนวทางตามนี้จะเป็นส่วนหนึ่งของ หลักสูตรปริญญาโท ของ ม.ชีวิต เพื่อสร้างนักยุทธศาสตร์พัฒนาท้องถิ่น
แต่ละโครงการของ สสวช. เป็นเหมือน jigsaw แต่ละอัน ไม่ว่าจะเป็น ม.ชีวิต สาขาสุขภาพชุมชน, วิทยาศาสตร์ชุมชน และสหวิทยาการ ทั้ง ป.ตรี และ โท โครงการต้นกล้าอาชีพวิสาหกิจชุมชน, โครงการ อปท. พอเพียง และโครงการอื่นๆ ซึ่งภาพต่อทั้งหมดนี้ เกี่ยวโยงกัน และต่อกันเป็นภาพอันเดียวกัน เป็นภาพอันใหญ่ที่สวยงาม ดังเช่น ภาพวาดของจิตกรชื่อดัง ที่ประเมินค่ามิได้ กับผลสำเร็จที่จะเกิดกับ ชุมชนและสังคม
รอด พอเพียง ยั่งยืน
เป็นสโลแกน เป็นทั้ง พันธกิจ และ ยุทธศาสร์ ในคำสามคำนี้ ของโครงการ องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นพอเพียง ซึ่งเป็น Jigsaw อันใหญ่ อันหนึ่งของ สสวช.
โดยมีตัวอย่างเครื่องมือในการประเมิน อบต. และ เทศบาล ว่าเป็น อปท. ในระดับใด
รอด คือ ระดับการประเมิน ที่ต่ำที่สุด สำหรับ อปท. ที่บริหารจัดการตัวเองได้ ในระดับ พอใช้
-ความยากจน – ตัวชี้วัด – มีอาหารกิน ไม่เป็นโรคขาดสารอาหาร, ไม่มีคนเร่รอน, มีเครื่องนุ่งหุ่มในหน้าหนาว, มียารักษาโรค มีโรงพยาบาล
-หนี้สิ้น – ทั้งในและนอกระบบ ที่ยังไม่สามารถปลดหนี้ได้
-อาชีพรายได้ – มีอาชีพแน่นอน, รายได้มากกว่า 40 บาทต่อวัน
-สวัสดิการ ความมั่นคง – ผุ้สูงอายุ และ เด็ก ได้รับการดูแล
-ทรัพยากร – ขาดที่ดินทำกิน
-ครอบครัว ชุมชน – ครอบครัวอบอุ่น อยู่ร่วมกัน
พอเพียง – ระดับดี
-เศรษฐกิจ
-การเรียนรู้
-การจัดการ
-สวัสดิการ ความมั่นคง
-ชุมชนเข้มแข็ง – ชุมชนพึ่งพากัน สามัคคีกัน
ยั่งยืน – ระดับดีมาก
-การเรียนรู้ – มีแผนแม่บทชุมชน โดยชุมชน
-การจัดการเพื่อการพึ่งตนเอง – ผลิตอาหารเพียงกับชุมชน ผลิตพลังงานทางเลือกได้
-ระบบเกษตร - มีการพัฒนากิจกรรมเกษตรแบบเกื้อกูลกัน
-ระบบพลังงานและสิ่งแวดล้อม – มีข้อมมูลการใช้พลังงานของชุมชน
-ระบบวิสาหกิจชุมชน
-ระบบทุน – มีกลุ่มอมทรัพย์
-ระบบสุขภาพ – มีข้อมูลจำนวนผู้เจ็บป่าย
-ระบบสวัสดิการ – มีกองทุน การศึกษา เจ็บป่วย เสียชีวิต
นี่เป็นเพียงตัวอย่างแบบประเมิน อปท. ซึ่งแต่ละ อปท. ต้องจัดทำขึ้นมาเอง เพื่อให้สามารถแก้ปัญหาของตนเองได้ ตามสภาพของแต่ละท้องถิ่น
แนวทางตามนี้จะเป็นส่วนหนึ่งของ หลักสูตรปริญญาโท ของ ม.ชีวิต เพื่อสร้างนักยุทธศาสตร์พัฒนาท้องถิ่น
แต่ละโครงการของ สสวช. เป็นเหมือน jigsaw แต่ละอัน ไม่ว่าจะเป็น ม.ชีวิต สาขาสุขภาพชุมชน, วิทยาศาสตร์ชุมชน และสหวิทยาการ ทั้ง ป.ตรี และ โท โครงการต้นกล้าอาชีพวิสาหกิจชุมชน, โครงการ อปท. พอเพียง และโครงการอื่นๆ ซึ่งภาพต่อทั้งหมดนี้ เกี่ยวโยงกัน และต่อกันเป็นภาพอันเดียวกัน เป็นภาพอันใหญ่ที่สวยงาม ดังเช่น ภาพวาดของจิตกรชื่อดัง ที่ประเมินค่ามิได้ กับผลสำเร็จที่จะเกิดกับ ชุมชนและสังคม
“รบด้วยความรู้ ชนะด้วยปัญญา”
..
คืนสู่ธรรมชาติ จ๊อบ บรรจบ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น